แชร์เรื่องนี้
Turnkey Project คืออะไร เทียบกับโปรเจกต์แบบกำหนดเอง เลือกแบบไหนดี?
โดย Seven Peaks เมื่อ 15 มิ.ย. 2022, 17:10:00
ทางเลือกในการพัฒนาซอฟต์แวร์มีอยู่หลักๆ 2 แบบ นั่นคือ ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์แบบเทิร์นคีย์ (turnkey software solutions) กับซอฟต์แวร์แบบกำหนดเอง (custome software development) ซึ่งแต่ละแบบก็มีข้อดีข้อเสียในตัวเอง การเข้าใจความแตกต่างเหล่านี้จะช่วยให้คุณตัดสินใจเลือกได้ง่ายขึ้น ดังนั้น มาดูกันว่า turnkey project คืออะไร และมีรายละเอียดอะไรที่คุณควรรู้บ้าง
การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบ turnkey project คืออะไร
ในการพัฒนาซอฟต์แวร์นั้น turnkey project คือ ‘ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์ที่พร้อมใช้งาน’ หมายความว่าเป็นซอฟต์แวร์ที่บริษัทหนึ่งออกแบบและพัฒนาขึ้นมา แล้วส่งมอบให้ลูกค้าเมื่อซอฟต์แวร์นั้นพร้อมใช้งาน
turnkey project จึงเหมาะกับคนที่อยากได้แอปพลิเคชันมือถือหรือซอฟต์แวร์มาใช้งานแต่ไม่ค่อยมีเวลาหรือประสบการณ์ในการพัฒนาเอง
เมื่อเปรียบเทียบกันแล้ว turnkey project นั้นเปรียบเสมือนคู่ตรงข้ามของโปรเจกต์พัฒนาซอฟต์แวร์แบบกำหนดเอง ซึ่งจะกล่าวถึงในหัวข้อถัดไป
การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบกำหนดเอง คืออะไร
ข้อดีของการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเทิร์นคีย์
ค่าใช้จ่ายถูกกว่า
โปรเจกต์แบบเทิร์นคีย์เป็นทางเลือกที่มีค่าใช้จ่ายถูกกว่าการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบกำหนดเอง และไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม
ทำได้ง่ายกว่า
การพัฒนาแอปพลิเคชันในโปรเจกต์แบบเทิร์นคีย์สามารถทำได้ง่ายและรวดเร็วกว่าเพราะว่าไม่จำเป็นต้องสร้างทุกอย่างขึ้นมาใหม่ แค่เลือกซอฟต์แวร์ที่มีอยู่แล้วมาปรับแต่งนิดหน่อยก็สามารถใช้งานได้เลย
ทำงานพื้นฐานได้ดี
ซอฟต์แวร์พร้อมใช้ทั้งหลายมักมีฟีเจอร์ดีๆ ที่ครอบคลุมความต้องการพื้นฐานของบริษัทส่วนใหญ่อยู่แล้ว จึงสามารถนำมาใช้ได้ในระดับที่น่าพอใจ
ข้อเสียของการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเทิร์นคีย์
อาจต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงาน
เนื่องจากโปรเจกต์แบบเทิร์นคีย์เป็นซอฟต์แวร์ที่พร้อมใช้งานจึงอาจต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงานบางอย่างเพื่อให้ใช้งานซอฟต์แวร์นั้นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
อาจไม่ครอบคลุมความต้องการของธุรกิจครบทุกอย่าง
เป็นไปได้ว่าแอปพลิเคชันที่พร้อมใช้อาจไม่สามารถตอบสนองความต้องการเฉพาะของธุรกิจคุณได้ หรือครอบคลุมความต้องการที่มีได้ไม่ครบ
อาจมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม
จากข้อที่แล้ว หากมีฟีเจอร์ไหนที่ต้องทำเพิ่มก็มีโอกาสที่จะมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมตามมา ซึ่งในบางกรณีการปรับแต่งซอฟต์แวร์พร้อมใช้จากโปรเจกต์แบบเทิร์นคีย์อาจเป็นไปไม่ได้ด้วยซ้ำ
ข้อดีของการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบกำหนดเอง
ไม่มีข้อจำกัด
เนื่องจากซอฟต์แวร์แบบกำหนดเองเป็นสิ่งที่ทำตามสั่ง ดังนั้น เรื่องของดีไซน์และฟังก์ชันการใช้งานก็สามารถเลือกแบบที่ต้องการได้เต็มที่ และการขยายความสามารถเพิ่มเติมภายหลังก็เป็นไปได้เช่นกัน
ควบคุมได้ตามต้องการ
ซอฟต์แวร์แบบกำหนดเองทำให้ลูกค้ามีอำนาจมากขึ้น ซึ่งหมายความว่า สามารถควบคุมสิ่งต่างๆ เกี่ยวกับซอฟต์แวร์ได้มากขึ้นนั่นเอง เช่น สามารถควบคุมความปลอดภัยทางไซเบอร์ได้อย่างละเอียด มั่นใจได้มากขึ้นว่าข้อมูลสำคัญจะได้รับการปกป้องเต็มที่
ข้อเสียของการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบกำหนดเอง
ค่าใช้จ่ายสูง
การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบกำหนดเองจำเป็นต้องใช้เงินลงทุนสูงตั้งแต่เริ่มโปรเจกต์ และอาจมีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมตามมาภายหลัง
ใช้เวลานาน
หากเทียบกับโปรเจกต์แบบเทิร์นคีย์แล้ว การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบกำหนดเองจะใช้เวลานานกว่า และใช้ทรัพยากรมากกว่า ซึ่งอาจใช้เวลานานถึง 6 เดือนหรือเป็นปีกว่าจะพัฒนาซอฟต์แวร์จนเสร็จสิ้น
ควรเลือกแบบไหนถึงจะดีที่สุด?
ถ้าหากว่าคุณอยากได้ฟีเจอร์บางอย่างที่ดูเหมือนจะไม่มีในซอฟต์แวร์ทั่วไปในตลาดมาก่อน การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบกำหนดเองคือทางเลือกที่เหมาะสมกว่า แต่ถ้าคุณมีงบประมาณที่จำกัด ก็ควรเลือกซอฟต์แวร์แบบเทิร์นคีย์แทน
Seven Peaks Software มีทั้งบริการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบกำหนดเอง และซอฟต์แวร์แบบเทิร์นคีย์ให้คุณเลือกได้ตามความต้องการ โปรเจกต์แบบเทิร์นคีย์ของเราจะมีความแตกต่างจากของเจ้าอื่นเล็กน้อยตรงที่เราจะพยายามลบข้อเสียของการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบเทิร์นคีย์ออกไปให้มากที่สุด ซึ่งทีมงานผู้เชี่ยวชาญของเราจะพัฒนาซอฟต์แวร์ตามความต้องการของลูกค้าโดยที่ยังอยู่ในงบประมาณอันจำกัดได้
สรุปทิ้งท้าย
โดยสรุปแล้ว ถ้าคุณเข้าใจความแตกต่างว่าโซลูชันแบบ turnkey project คืออะไร และโซลูชั่นแบบกำหนดเอง คืออะไร ก็จะช่วยให้คุณสามารถเลือกได้ว่าแนวทางพัฒนาซอฟต์แวร์แบบไหนที่เหมาะกับธุรกิจของบริษัทคุณ
turnkey project คือตัวเลือกที่ดี หากฟีเจอร์ที่มีอยู่ในตลาดตอบโจทย์ความต้องการของธุรกิจคุณได้ดีอยู่แล้ว เพราะจะช่วยให้คุณประหยัดได้ทั้งเวลาและงบประมาณ
แต่ถ้าหากมีฟีเจอร์ที่คุณต้องการเพิ่มเติม หรือไม่ต้องกังวลกับระยะเวลาของโปรเจกต์ การพัฒนาซอฟต์แวร์แบบกำหนดเองอาจเป็นทางเลือกที่ดีกว่า
แชร์เรื่องนี้
- FinTech (11)
- การพัฒนาซอฟต์แวร์ (10)
- Expert Spotlight (8)
- อาชีพการงาน (8)
- Cloud (5)
- InsurTech (5)
- Mixpanel (5)
- Agile (4)
- Digital Transformation (4)
- JavaScript (4)
- QA (4)
- Trend (4)
- การพัฒนาแอปพลิเคชัน iOS (4)
- Android Developer (3)
- Azure (3)
- Banking (3)
- CSR (3)
- Hybrid App (3)
- IoT (3)
- Product-Centric Mindset (3)
- Seven Peaks Insights (3)
- Thought Leadership (3)
- การพัฒนาแอปฯ Android (3)
- การออกแบบ UX (3)
- บริษัท (3)
- เทคโนโลยีการเงินและการธนาคาร (3)
- .NET (2)
- AI (2)
- Cross-Platform Application (2)
- Data (2)
- Kotlin (2)
- Native App (2)
- ReactJS (2)
- digital marketing (2)
- การพัฒนาแอปฯ (2)
- งาน Product Owner (2)
- 5g (1)
- Android (1)
- AndroidX Biometric (1)
- Azure OpenAI Service (1)
- Biometrics (1)
- CI/CD (1)
- Customer Data Platform (1)
- Data and Analytics (1)
- Design Thinking (1)
- DevOps (1)
- Digital Healthcare (1)
- Digital ID (1)
- Digital Landscape (1)
- Digital Product (1)
- Digital Product Development (1)
- E-payment (1)
- E-wallet (1)
- Financial Inclusion (1)
- GraphQL (1)
- IT Outsourcing (1)
- MVP (1)
- MVVM (1)
- Metaverse (1)
- Morphosis (1)
- Node.js (1)
- Partner (1)
- Platform Engineering (1)
- Product Growth (1)
- Recruitment (1)
- SCB (1)
- SEO (1)
- Scrum Master (1)
- Software Engineer (1)
- Software Tester (1)
- Stripe (1)
- Swift (1)
- SwiftUI (1)
- Tech Meetup (1)
- Turnkey (1)
- UI (1)
- UX (1)
- UX Design (1)
- UX writing (1)
- Web-Debugging Tool (1)
- customer centric (1)
- iOS17 (1)
- waterfall (1)
- การจ้างงาน (1)
- การพัฒนาด้วย RabbitMQ (1)
- การพัฒนาระบบคลาวด์ (1)
- การออกแบบ Decorator Pattern (1)
- การใช้งาน C# (1)
- งาน Product Manager (1)
- งาน platform enginerring (1)
- ทำ Context API (1)
- ฟินเทค (1)
- ระบบการชำระเงิน (1)
- สร้าง brand loyalty (1)
- อีคอมเมิร์ซ (1)
- เขียนโค้ด React (1)
- เทคโนโลยี React (1)
- เพิ่ม conversion (1)
- เฟรมเวิร์ก (1)
- แดชบอร์ด (1)
- พฤศจิกายน 2024 (1)
- สิงหาคม 2024 (1)
- กรกฎาคม 2024 (2)
- มีนาคม 2024 (5)
- กุมภาพันธ์ 2024 (5)
- มกราคม 2024 (14)
- ธันวาคม 2023 (4)
- พฤศจิกายน 2023 (9)
- ตุลาคม 2023 (12)
- กันยายน 2023 (7)
- กรกฎาคม 2023 (4)
- มิถุนายน 2023 (3)
- พฤษภาคม 2023 (3)
- เมษายน 2023 (1)
- มีนาคม 2023 (1)
- พฤศจิกายน 2022 (1)
- สิงหาคม 2022 (4)
- กรกฎาคม 2022 (1)
- มิถุนายน 2022 (4)
- เมษายน 2022 (6)
- มีนาคม 2022 (3)
- กุมภาพันธ์ 2022 (6)
- มกราคม 2022 (3)
- ธันวาคม 2021 (2)
- ตุลาคม 2021 (1)
- กันยายน 2021 (1)
- สิงหาคม 2021 (3)
- กรกฎาคม 2021 (1)
- มิถุนายน 2021 (2)
- พฤษภาคม 2021 (1)
- มีนาคม 2021 (4)
- กุมภาพันธ์ 2021 (4)
- ธันวาคม 2020 (4)
- พฤศจิกายน 2020 (1)
- มิถุนายน 2020 (1)
- เมษายน 2020 (1)